วันพฤหัสบดีที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2554

องค็กรมรดกโลก

 มรดกโลก (World Heritage Site)
มรดกโลก (อังกฤษ: World Heritage Site; ฝรั่งเศส: Patrimoine Mondial) คือสถานที่ อันได้แก่ ป่าไม้ ภูเขา ทะเลสาบ ทะเลทราย อนุสาวรีย์ สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมไปถึงเมือง ซึ่งคัดเลือกโดยองค์การยูเนสโกตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เพื่อเป็นการบ่งบอกถึงคุณค่าของสิ่งที่มนุษยชาติ หรือธรรมชาติได้สร้างขึ้นมา และควรจะปกป้องสิ่งเหล่านั้นได้อย่างไร เพื่อให้ได้ตกทอดไปถึงอนาคต

ใน พ.ศ. 2553 มีมรดกโลกที่ขึ้นทะเบียนแล้วทั้งสิ้น 911 แห่ง แบ่งออกเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม 704 แห่ง มรดกโลกทางธรรมชาติ 180 แห่ง และมรดกโลกแบบผสม 27 แห่ง ตั้งอยู่ใน 151 ประเทศ โดยอิตาลีเป็นประเทศที่มีจำนวนมรดกโลกมากที่สุด คือ 44 แห่ง แม้ว่ายูเนสโกจะอ้างอิงถึงมรดกโลกแต่ละแห่งด้วยหมายเลข แต่การขึ้นทะเบียนในหลายครั้งก็จะผนวกเอามรดกโลกที่ได้ขึ้นทะเบียนไปแล้วเข้าเป็นส่วนหนึ่งของมรดกโลกที่มีพื้นที่มากขึ้น ดังนั้นจึงมีหมายเลขมรดกโลกเกิน 1,200 ไปแล้วแม้ว่าจะมีจำนวนมรดกโลกน้อยกว่าก็ตาม

-                    การแบ่งประเภทของมรดกโลก

ในปัจจุบัน มีมรดกโลกทั้งหมด 911 แห่ง ใน 151 ประเทศทั่วโลก ซึ่งแบ่งเป็น
1.มรดกโลกทางวัฒนธรรม 704 แห่ง
2.มรดกโลกทางธรรมชาติ 180 แห่ง
3.แบบผสมทั้งสองประเภท 27 แห่ง

-                ขั้นตอนการสมัครเป็นสมาชิกมรดกโลก

ประเทศที่ต้องการเสนอชื่อสถานที่ในประเทศของตนให้ได้รับการพิจารณาให้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก อันดับแรกจะต้องจัดทำบัญชีรายชื่อสถานที่ที่มีความสำคัญทางธรรมชาติและวัฒนธรรมทั้งหมดภายในประเทศของตน บัญชีนี้จะเรียกว่า บัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) ซึ่งมีความสำคัญมาก เพราะมีเพียงสถานที่ที่มีชื่ออยู่ในบัญชีนี้เท่านั้นที่จะมีสิทธิได้รับการเสนอชื่อ ขั้นต่อมา ประเทศนั้นๆจะต้องเลือกรายชื่อสถานที่ที่ต้องการเสนอชื่อมาจากบัญชีรายชื่อเบื้องต้น เพื่อจัดทำเป็นแฟ้มข้อมูล (Nomination File) โดยทางศูนย์มรดกโลกอาจให้คำแนะนำและช่วยเหลือในการจัดทำแฟ้มข้อมูลนี้

เมื่อถึงขั้นตอนนี้ แฟ้มข้อมูลจะถูกตรวจสอบและพิจารณาจากองค์กร 2 แห่ง ได้แก่ สภานานาชาติว่าด้วยการดูแลอนุสรณ์สถานและแหล่งโบราณคดี (International Council on Monuments and Sites) และ สหภาพสากลเพื่อการอนุรักษ์  (World Conservation Union) แล้วทั้งสององค์กรนี้จะยื่นข้อเสนอแนะต่อคณะกรรมการมรดกโลก ทางคณะกรรมการจะมีการประชุมร่วมกันปีละหนึ่งครั้ง เพื่อตัดสินว่าสถานที่ที่มีการเสนอชื่อแห่งใดบ้างที่ควรได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก หรือทางคณะกรรมการอาจร้องขอให้ประเทศที่เสนอชื่อได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถานที่เพิ่มเติม โดยการพิจารณาว่าจะขึ้นทะเบียนสถานที่แห่งใดจะต้องมีลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐานข้อใดข้อหนึ่งหรือหลายข้อ

 -                                                       มรดกโลกที่ขึ้นบัญชี

ทวีปมรดกโลกทางธรรมชาติมรดกโลกทางวัฒนธรรมมรดกโลกผสมมรดกโลกทั้งหมด
แอฟริกา3345482
อาหรับ464270
เอเชีย-แปซิฟิก521439204
ยุโรป และ อเมริกาเหนือ5938510454
ละตินอเมริกา และ แคริบเบียน35883126
รวม18372528936
ทวีปมรดกโลกทางธรรมชาติมรดกโลกทางวัฒนธรรมมรดกโลกผสมมรดกโลกทั้งหมด
แอฟริกา3345482
อาหรับ464270
เอเชีย-แปซิฟิก521439204
ยุโรป และ อเมริกาเหนือ5938510454
ละตินอเมริกา และ แคริบเบียน35883126
รวม18372528936


-           มรดกไทยที่ขึ้นบัญชีเป็นมรดกโลก             


1.อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา

2.แหล่งมรดกโลกสุโขทัย ศรีสัชนาลัย กำแพงเพชร

3.เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่-ห้วยขาแข้ง

4.แหล่งโบราณคดีบ้านเชียง บ้านเชียงจังหวัดอุดรธานี

5.มรดกโลก ป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

-      สาเหตุที่ประเทศไทยลาออกจากการเป็นภาคีสมาชิกมรดกโลก
 หากสังคมใดดำเนินการตามใจตนเอง ไม่คิดถึงกฎระเบียบที่ลงมติโดยสมาชิกแล้ว ก็ไม่มีประโยชน์ใดๆ ที่เราจะอยู่ในสังคมแบบนี้ กำลังแถลงต่อที่ประชุมครับ คณะผู้แทนพยายามเข้าใจ อธิบาย และอดทนรออย่างเต็มที่แล้ว ผมและคณะนำประเทศไทยถอนตัวจากการเป็นสมาชิกมรดกโลกแล้วครับทั้งนี้นายสุวิทย์ได่นำหนังสือลาออกจากสมาชิกมรดกโลก แสดงต่อสื่อมวลชน http://t.co/nmsJWHKด้าน ผู้สื่อข่าวสำนักข่าวทีเอ็นเอ็น ได้รายงาน ถึงการถอนตัวของประเทศไทย ว่า นายสุวิทย์ ได้ประกาศว่าประเทศไทยขอลาออกจากการเป็นสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก โดยให้เหตุผลว่าการที่คณะกรรมการมรดกโลก ได้นำมติวาระการประชุมที่กัมพูชาเสนอมานำเข้าสู่กระบวนการพิจารณา ซึ่งไทยยืนยันมาตลอดว่าเป็นการไม่ถูกต้อง หรือ สัญญาอาจจะทำให้ไทยสุ่มเสี่ยงต่อการเสียดินแดน ตรงนี้ไทยไม่เคยยอมรับ ขณะที่ประเทศไทยพยายามจะคัดค้านมาโดยตลอด แต่ในเมื่อจะเข้าสู่กระบวนการโหวต ไทยจึงต้องขอใช้สิทธิ์ ในการถอนตัวออกจากการเป็นสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลก ซึ่งถือว่าเป็นชาติแรกของโลก ที่ประกาศออกจากสมาชิกคณะกรรมการมรดกโลกอ่านรายงานการถอนตัวในที่ประชุม

รายงานผลการเลือกตั้ง 2554

-               ผลการเลือกตั้ง 2554
สรุปผลทั่วประเทศ อย่างเป็นทางการ 


ลำดับที่พรรคการเมืองกทม.กลางเหนืออีสานใต้ปาร์ตี้ลิสต์รวมจำนวน สส. แต่ละพรรค
1พรรคเพื่อไทย104149104061265 
2พรรคประชาธิปัตย์23251345044159 
3พรรคภูมิใจไทย0132131534 
4พรรคชาติไทยพัฒนา011211419 
5พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน0014027 
6พรรคพลังชล0600017 
7พรรครักประเทศไทย0000044 
8พรรครักษ์สันติ0000011 
9พรรคมาตุภูมิ0000011 
10พรรครักแผ่นดิน0000000 
11พรรคมหาชน0000000 
12พรรคประชาชนชาวไทย0000000 
13พรรคเพื่อประชาชนไทย0000000 
14พรรคชีวิตที่ดีกว่า0000000 
15พรรคพลังสังคมไทย0000000 
16พรรคประชาสันติ0000000 
17พรรคอาสามาตุภูมิ0000000 
18พรรคมหารัฐพัฒนา0000000 
19พรรคอนาคตไทย0000000 
20พรรคสยาม0000000 
21พรรคเพื่อนเกษตรไทย0000000 
22พรรคไทยสร้างสรรค์0000000 
23พรรคพลังคนกีฬา0000000 
24พรรคพลังชาวนาไทย0000000 
25พรรคความหวังใหม่0000000 
26พรรคชาติสามัคคี0000000 
27พรรคไทยพอเพียง0000000 
28พรรคไทยเป็นสุข0000000 
29พรรคกิจสังคม0000000 
30พรรคประชากรไทย0000000 
31พรรคพลังมวลชน0000000 
32พรรคประชาธรรม0000000 
33พรรคดำรงไทย0000000 
34พรรคไทยเป็นไท0000000 
35พรรคประชาธิปไตยใหม่0000000 
36พรรคเสรีนิยม0000000 
37พรรคบำรุงเมือง0000000 
38พรรคการเมืองใหม่0000000 
39พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย0000000 
40พรรคแทนคุณแผ่นดิน0000000 
41พรรคเพื่อฟ้าดิน0000000 
42พรรคกสิกรไทย0000000
-                            พรรคร่วมรัฐบาล
มีพรรคการเมืองเข้าร่วมรัฐบาลคือ
1.พรรคชาติไทยพัฒนา ได้ ส.ส จำนวน 19 ที่นั่ง
2.พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน ได้ ส.ส จำนวน 7 ที่นั่ง
3.พรรคพลังชล ได้ ส.ส จำนวน 7 ที่นั่ง
4.พรรคมหาชน ได้ ส.ส จำนวน 1 ที่นั่ง

เมื่อรวมกับพรรคเพื่อไทย 265 ที่นั่ง ได้ 299 เสียงที่นั่ง
-                       พรรคการเมืองฝ่ายค้าน
พรรคการเมืองฝ่ายค้านประกอบด้วย
1.พรรคประชาธิปปัตย์  ได้ ส.ส จำนวน 159  ที่นั่ง
2.พรรคภูมิใจไทย  ได้ ส.ส จำนวน 34  ที่นั่ง
3.พรรครักประเทศไทย  ได้ ส.ส จำนวน  4 ที่นั่ง
4.พรรคมาตุภูมิ  ได้ ส.ส จำนวน 1  ที่นั่ง
5.พรรครักสันติ  ได้ ส.ส จำนวน  1 ที่นั่ง

รวมฝ่ายค้านทั้งสิ้นมี 199 เสียงที่นั่ง

วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2554

พรรคการเมืองที่ลงเลือกตั้งปี 2554

   โฉมหน้าหัวหน้าพรรคและสัญลักษณ์ประจำพรรค 

หมายเลข
ชื่อพรรค
หัวหน้าพรรค
                  สัญลักษณ์พรรค
1
พรรคเพื่อไทย

นาย ยงยุทธ วิชัยดิษฐ



2
พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

พล.อ.เชษฐา ฐานะจาโร


       
3
พรรคประชาธิปไตยใหม่ 

นายสุรทิน พิจารณ์



        
         
4
พรรคประชากรไทย

นายสุมิตร สุนทรเวช



  
 
5
พรรครักประเทศไทย

นายชูวิทย์ กมลวิศิษฎ์

    
6
พรรคพลังชล

รองศาสตราจารย์เชาว์ มณีวงษ์
7
พรรคประชาธรรม

นายมุคตาร์ กีละ
8
พรรคดำรงไทย
นายโชติพัฒน์ สกุลดีเชิดชู
   
9
พรรคพลังมวลชน
นายไกรภพ ครองจักรภพ
        
10
พรรคประชาธิปัตย์
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

  
11
พรรคไทยพอเพียง
นายจำรัส อินทุมาร
12
พรรครักษ์สันติ
พลตำรวจโทถวิล สุรเชษฐพงษ์
13
พรรคไทยเป็นสุข
นายประดิษฐ์ ศรีประชา


        
14
พรรคกิจสังคม
นายทองพูล   ดีไพร
  
15
พรรคไทยเป็นไทย
นายตรีสัลล์ จันทน์เทียนเดชา
16
พรรคภูมิใจไทย
นายชวรัตน์ ชาญวีรกูล

17
พรรคแทนคุณแผ่นดิน
นายวิชัย ศิรินคร


18
พรรคเพื่อฟ้าดิน
นางสาวขวัญดิน สิงห์คำ
19
พรรคเครือข่ายชาวนาแห่งประเทศไทย
นายโชติ บุญจริง

  
20
พรรคการเมืองใหม่
นายสมศักดิ์  โกศัยสุข
21
พรรคชาติไทยพัฒนา
นายชุมพล ศิลปอาชา


22
พรรคเสรีนิยม
นายพุทธชาติ ช่วยราม

23
พรรคชาติสามัคคี
นายนพดล ไชยฤทธิเดช

24
พรรคบำรุงเมือง
นายสุวรรณ ประมูลชัย



         
25
พรรคกสิกรไทย
 นายจำลอง  ดำสิม

26
พรรคมาตุภูมิ
พลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน

27
พรรคชีวิตที่ดีกว่า
นางพูลถวิล ปานประเสริฐ


28
พรรคพลังสังคมไทย
นายวิวัฒน์ เลอยุกต์
29
พรรคเพื่อประชาชนไทย
นายดิเรก กลิ่นจันทร์
     
         
30
พรรคมหาชน
นายอภิรัต ศิรินาวิน
31
พรรคประชาชนชาวไทย
นายสุนทร ศรีบุญนาค
     
    
32
พรรครักแผ่นดิน
นายประทีป ประภัสสร
33
พรรคประชาสันติ
นายดลสวัสด์ ชาติเมธี
34
พรรคความหวังใหม่
นายชิงชัย   มงคลธรรม
35
พรรคอาสามาตุภูมิ
นายมนตรี เศรษฐบุตร
36
พรรคพลังคนกีฬา
นายวนัสธนา สัจจกุล
37
พรรคพลังชาวนาไทย
นายสวัสดิ์ พบวันดี
38
พรรคไทยสร้างสรรค์
นายวิษณุภตฆ์ พีรเจริญวงส์
39

พรรคเพื่อนเกษตรไทย
นายทรงเดช สุขขำ  
  

40
พรรคมหารัฐพัฒนา
นางสาวนวลนิจ หงษ์วิวัฒน์